Set Default Page Add to Favorites Send This Page to Friend ReadyPlanet.com
dot dot
dot
กู้เงินด่วน
dot
bulletประวัติกรมศุลกากร
bulletวิสัยทัศน์ - พันธกิจกรมศุลกากร
bulletโครงสร้างการบริหาร
bulletแผนที่ตั้งกรมศุลกากร
bulletโครงสร้างด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่
bulletแผนที่ตั้งด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่
bulletทำเนียบนายด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่
bulletคำรับรองการปฏิบัติราชการ
bulletสมุดโทรศัพท์
dot
บริการ
dot
bullete - Customs
bullete - Tracking
bulletข่าวกรมศุลกากร
bulletจุลสาร
bulletอัตราแลกเปลี่ยน
bulletบุคคลทั่วไป/นักท่องเที่ยว/ส่วนราชการ
dot
แบบฟอร์ม/คำร้องต่าง ๆ
dot
bulletแบบฟอร์มและคำร้อง
dot
พิธีการเฉพาะเรื่อง
dot
bulletการนำขอรับสิ่งของทางไปรษณีย์
bulletพิธีการศุลกากรสำหรับผู้โดยสาร
bulletการขอรับสิ่งของทางคลังสินค้ากรณีของใช้ส่วนตัว ของใช้ในครัวเรือน
dot
สถิติ / ข้อมูลนำเข้า-ส่งออก
dot
bulletมูลค่าการนำเข้า - ส่งออก สูงสุด 10 อันดับ ปี 2552
bulletมูลค่าการนำเข้า - ส่งออก สูงสุด 10 อันดับ ปี 2553
bulletมูลค่าการนำเข้า - ส่งออก สูงสุด 10 อันดับ ปี 2554
bulletมูลค่าการนำเข้า - ส่งออก สูงสุด 10 อันดับ ปี 2555
dot
ข้อมูลที่น่าสนใจ
dot
bulletสายการบินนานาชาติที่เชียงใหม่
bulletสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
dot
ด่านศุลกากรในสังกัด ศภ.3
dot
bulletสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3
bulletด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่
bulletด่านศุลกากรแม่สาย
bulletด่านศุลกากรแม่สอด
bulletด่านศุลกากรเชียงแสน
bulletด่านศุลกากรเชียงของ
bulletด่านศุลกากรแม่ฮ่องสอน
bulletด่านศุลกากรเชียงดาว
bulletด่านศุลกากรแม่สะเรียง
bulletด่านศุลกากรทุ่งช้าง
dot
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
dot
bulletกรมศุลกากร
bulletกระทรวงการคลัง
bulletกระทรวงพาณิชย์
bulletกระทรวงกลาโหม
bulletสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
bulletสำนักสืบสวนและปราบปราม
bulletกรมสอบสวนคดีพิเศษ
bulletกรมส่งเสริมการส่งออก
bulletกรมการค้าต่างประเทศ
bulletการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
bulletสมาคมผู้ประกอบการขนส่งภาคเหนือ
bulletกรมเจรจาการค้าต่างประเทศ
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมสรรพสามิต
bulletสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletกรมศิลปากร
bulletกรมปศุสัตว์
bulletกรมประมง
bulletสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
bulletกระทรวงเกษตร
bulletสำนักงานปราบปรามยาเสพติด
dot
จังหวัดในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
dot
bulletจังหวัดเชียงใหม่
bulletจังหวัดลำพูน
bulletจังหวัดลำปาง
bulletจังหวัดแพร่
dot
รวม web ที่น่าสนใจ
dot
bulletเครือข่ายกาญจนาภิเษก
bulletรัฐบาลไทย
bulletท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
bulletสนง. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน(ก.พ.ร)
bulletราชบัณฑิตยสถาน
bulletคนไทยดอทคอม
bulletอินเตอร์เน็ตตำบล




พิธีการนำเข้า article

 การนำเข้าสินค้า


เมื่อสินค้ามาถึงประเทศไทย ผู้นำเข้าต้องยื่นใบขนสินค้าและเอกสารที่เกี่ยวข้องสำหรับการนำเข้ากับเจ้า หน้าที่ศุลกากร ณ ท่าที่นำเข้า การนำสินค้าเข้าประเทศไทยยังไม่ถูกกฎหมายโดยสมบูรณ์จนกระทั่งสินค้ามาถึงท่า ที่นำเข้า การส่งมอบสินค้าได้รับการอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ศุลกากร และได้ชำระภาษีอากรที่เกี่ยวข้องเรียบร้อยแล้ว ผู้นำเข้ามีความรับผิดชอบในการเตรียมสินค้าเพื่อการตรวจสอบ และปล่อยสินค้าออกจากอารักขาของศุลกากร
นอกจากนี้ผู้นำเข้ายังต้องได้รับ ใบอนุญาตในการนำเข้าสำหรับสินค้า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้า สินค้าบางรายการต้องได้รับการอนุญาตให้นำเข้าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อน การนำเข้าเอกสาร
เอกสารที่จำเป็นในการยื่นเพื่อดำเนินพิธีการทาง ศุลกากรเพื่อนำเข้าประกอบด้วย
(1) ใบขนสินค้าขาเข้า
(2) ใบตราส่ง สินค้า
(3) บัญชีราคาสินค้า
(4) บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบห่อ
(5) ใบ อนุญาตหรือหนังสืออนุญาตสำหรับสินค้าควบคุมการนำเข้า
(6) ใบรับรองแหล่ง กำเนิดสินค้า (กรณีขอลดอัตราอากร)
(7) เอกสารอื่น ๆ เช่น แค็ดตาล็อก เอกสารแสดงส่วนผสม เป็นต้น


ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการ

ภายใต้ระบบการนำเข้าแบบ อิเล็กทรอนิก ผู้นำเข้าหรือตัวแทนที่เกี่ยวข้องไม่จำเป็นต้องยื่นเอกสารที่เป็นกระดาษ เนื่องจากข้อมูลทั้งหมดโอนถ่ายแบบอิเล็กทรอนิกจากระบบคอมพิวเตอร์ของผู้นำ เข้าไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรด้วยระบบ VAN หรืออินเตอร์เน็ต
โดย ทั่วไปขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนำเข้าสินค้ามี 4 ขั้นตอนดังนี้


1. การโอนถ่าย และ/หรือ การยื่นข้อมูลใบขนสินค้า: ขั้นตอนแรกของพิธีการนำเข้าคือการสำแดงข้อมูลการนำเข้าและส่งข้อมูลไปยังกรม ศุลกากร ให้บริษัทหรือตัวแทนออกของส่งข้อมูลเรือเข้า บัญชีรายการสินค้าและบัญชีรายละเอียดการบรรจุหีบห่อสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของ กรมศุลกากร หากไม่พบข้อผิดพลาด ระบบคอมพิวเตอร์จะตอบกลับไปยังบริษัทหรือตัวแทนนั้นๆ เมื่อสินค้ามาถึงท่าหรือสถานที่นำเข้า ผู้นำเข้าหรือตัวแทนต้องส่งข้อมูลใบขนสินค้าไปยังระบบคอมพิวเตอร์ของกรม ศุลกากร


2.  การตรวจสอบพิสูจน์การสำแดงข้อมูล: ขั้นตอนที่ 2 คือการตรวจสอบพิสูจน์การสำแดงข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่ผู้นำ เข้ายื่นมา ในขั้นนี้ระบบของกรมฯจะแยกใบขนสินค้าเป็น 2 ประเภทคือ ใบขนฯให้ตรวจ และใบขนฯยกเว้นการตรวจ ผู้นำเข้าสามารถดำเนินการชำระภาษีอากรที่เกี่ยวข้องได้ทันที หากใบขนฯของตนเป็นใบขนฯยกเว้นการตรวจ


3.  การชำระภาษีอากรขาเข้า: ขั้นตอนที่ 3 คือการชำระภาษีอากรและการวางประกันที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันสามารถชำระได้ 3 วิธี: ชำระที่กรมศุลกากร   ชำระผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์  และชำระที่ธนาคาร


4. การตรวจและการปล่อยสินค้า: ขั้นตอนสุดท้ายคือการตรวจและปล่อยสินค้าจากอารักขาของศุลกากร ผู้นำเข้ายื่นใบขนฯ กับใบเสร็จรับเงินที่คลังสินค้าเพื่อการปล่อยสินค้า ในขั้นนี้ ข้อมูลของสินค้าถูกตรวจสอบความถูกต้องโดยละเอียดเพื่อระบุว่าสินค้าดังกล่าว ต้องผ่านการเปิดตรวจ  หรือยกเว้นการตรวจ  หากเป็นใบขนฯยกเว้นการตรวจจะใช้เวลาน้อยมาก หลังจากนั้นสถานะการปล่อยสินค้าจะส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ไปทั้งที่ ท่าเรือและที่ผู้นำเข้าหรือตัวแทน อย่างไรก็ตามในกรณีที่สินค้าต้องผ่านการตรวจสอบพิธีการ ท่าเรือจะเคลื่อนย้ายสินค้าเพื่อการตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรก่อนการ ปล่อยสินค้าออกจากอารักขาศุลกากร




พิธีการศุลกากร

การชำระภาษี article
การชดเชยค่าภาษีอากร article
การสำแดงเงินตราต่างประเทศ article
สินค้าตามประกาศสาธารณสุข article
ของต้องห้ามและของต้องกำกัด article
การวิเคราะห์สินค้า article
ใบสุทธินำกลับ article
พิธีการศุลกากรอื่น ๆ article
พิธีการศุลกากรไปรษณีย์ article
พิธีการ A.T.A CARNET article
พิธีการนำเข้าของเอกสิทธิ์หรือของที่ได้รับบริจาค article
พิธีการนำเข้าของใช้ในบ้านเรือน article
พิธีการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคล article
การนำเข้าของเพื่อจัดการประชุมระหว่างประเทศ article
พิธีการส่งออก article



เงินด่วนนอกระบบ โอนเข้าบัญชี